513 รวมเข้าชม, 1 เข้าชมวันนี้
]
วัตถุมงคลอยู่คู่กับสังคมไทยมานาน วัดมูลค่าจาก “ศรัทธา” จึงยากต่อการประเมิน วัดเป็นต้นทุน “การผลิต” ส่งออกสู่ตลาด “เพื่อเช่าบูชา” สองสามปีมานี้กระเเส “พระเครื่อง” นับตั้งเเต่กระเเสจตุคามรามเทพหมดไป พระเครื่องที่มีชื่อเสียงมากที่สุด คงเป็น “ท้าวเวสสุวรรณ” ที่วัดเกือบทั่วประเทศไทยรีบเร่งจัดสร้างกันอย่างอึกทึก วัดใหญ่ ๆ เช่น วัดอรุณราชวราราม กรุงเทพมหานคร ถึงกับอ้างว่าเป็นปฐมบทของท้าวเวสสุวรรณในประเทศ
วงการพระเครื่อกระจายตลาดออกไปสู่เพื่อบ้านในอาเซียน เช่น มาเลเซีย และสิงคโปร์ต่างก็มีร้านเช่าพระกระจายอยู่ทั่วไปเกือบทุกรัฐ เฉพาะในสิงคโปร์มีร้านเช่าพระอยู่เกือบ 300 ร้าน นอกจากนี้ในไต้หวัน ฮ่องกง หรือแม้แต่ในยุโรป และอเมริกาที่เป็นแหล่งชุมชนของชาวเอเชีย
ปัจจุบันเเนวโน้มการเช่าบูชาพระไม่ใช่คนสุงอายุแต่เป็นวัยรุ่นที่มายุตั้งเเต่ ๒๐-๔๕ ปี เพิ่มมากขึ้น ประกอบกับราคาของพระแต่ละรุ่นที่อาจจะเพิ่มมากขึ้นตามความนิยม ทำให้เกิดการคาดการณ์ว่ากระเเสพระเครื่องจะยังคงอยู่ต่อไปได้อีกนาน ซึ่งเท่ากับว่ารายได้ที่เกิดจาการการเช่าบูชาจะมีมากถึง ๗ พันล้านบาท
วงการพระเครื่องไม่ได้หยุดการพัฒนาแต่เติบโตไปพร้อมกับสังคมอย่างต่อเนื่องเมื่อพระเครื่องเข้าสู่วงการ Crypto Amulets ซึ่งกระเเสนิยมพระเครื่องยุคดิจิทัลได้เป็นอย่างดี
อ่านเพิ่มเติม :-
(อ้างอิงจากงานวิจัย)
(1) Johnson, A. A. (2016). Dreaming about the neighbours: Magic, Orientalism, and entrepreneurship in the consumption of Thai religious goods in Singapore. South East Asia Research, 24(4), 445–461.
(2) Bai, S. (2010). Research on Consumer Behavior in Internet Market. Ph.D. Thesis, Renmin University of China. [in Chinese]
(3) Wang, J. (2014). Buddha market will be the second spring. Collection : auction, 46-51. [in Chinese]
(4) Yang, L. (2008). Thangka can become the Beijing market new “expensive”. Art market, 39-41. [in Chinese]
(5) You, Q. (2008). Research on Development Strategy of WRT Company. Ph.D. Thesis, Southwest Jiaotong University. [in Chinese]
(6) Soontravanich, C. (2013). The Regionalization of Local Buddhist Saints: Amulets, Crime and Violence in Post–World War II Thai Society. Sojourn: Journal of Social Issues in Southeast Asia 28(2), 179-215. https://www.muse.jhu.edu/article/527877.
(7) Johnson, A. A. (2016). Dreaming about the neighbours: Magic, Orientalism, and entrepreneurship in the consumption of Thai religious goods in Singapore. South East Asia Research, 24(4), 445-461.
( 8 ) Kitiarsa, P. (2010). Buddha‐izing a global city‐state: transnational religious mobilities, spiritual marketplace, and Thai migrant monks in Singapore. Mobilities, 5(2), 257-275.
(อ้างอิงข่าว)
#ASC #ASEAN #MCU #มจร #ก้าวหน้า #ก้าวนำ #สร้างสรรค์นวัตกรรม #สู่มาตรฐานสากล
ASEAN Studies Centre